การออกแบบโครงสร้างเพื่อรองรับแผ่นหนา 6 mm.
1. ใช้แผ่นเต็มหน้ากว้างแผ่น (ไม่เสียเศษแผ่น)
ระยะห่างจันทันกลาง 1392 มม. (วัดจากจุด Center-Center) ระยะห่างจันทันริมซ้าย-ขวา แคบกว่าตรงกลาง
ข้อดี
- เสียเศษแผ่นน้อย
- ผู้ที่ติดตั้งทำงานง่าย
ข้อเสีย
- ภาพรวมโครงสร้าง
- ดูไม่เท่ากันทุกช่อง
- * เฉพาะจันทันซ้าย / ขวา ต้องเผื่อระยะชายคาไม่เกิน
(เสียเศษแผ่น) 10 cm. จึงมีขนาเล็กกว่าจันทันกลาง
2. กรณีโครงสร้างไม่ตรงตามมาตรฐาน
ระยะห่างจันทันหารเฉลี่ยเท่ากันในทุกๆช่อง
ข้อดี
- ภาพรวมโครงสร้างดูสมมาตรกัน ในทุกตำแหน่ง
ข้อเสีย- ราคาต่อ ตร.ม.สูงกว่าพื้นที่ใช้งาน จริงเนื่องจากเสียเสษแผ่นเยอะ
- เพิ่มขั้นตอนการตัดแผ่นให้ผู้ติดตั้ง
3.การทำโครงสร้างกรณีหลังคายื่น 6 เมตร
- กรณีแผ่นเหลื่อมกันมีระยะประมาณ 20 ซม.
- กรณีหลังคายาวเกิน 6 เมตร ใช้ทำโครงสร้างเป็น step ขั้นบันไดแยกจากกัน
- อาจใช้อลูมิเนียมแฟรชชิ่งหรือเพลทเหล็กปิดกั้นกันน้ำย้อนระหว่างสองขั้นบันได
- ห้ามต่อแผ่นตามแนวแปทุกประการ
4.การออกแบบโครงสร้างแบบแขนตึง
- การติดตั้งควรทำมุมลาดเอีย 5 องศา จากแนวยื่นออกจากผนังเพื่อให้หลังคาระบายน้ำได้ดี
- ระยะยื่นจากเชิงชายควรไม่เป็น 10 เซนติเมตร เนื่องจากระยะเชิงชายที่ยาวเกินอาจมรผลต่อกานโก่งตัว ของแผ่นหลังคา
*การติดตั้งรางน้ำฝนที่ชายแผ่น
แนะนำรางน้ำฝน SCG รุ่น Smart
- ต้องเผื่อชายคาแผ่นยื่นมาในรางน้ำฝนอย่างน้อย 5-7 cm. เพื่อกันน้ำน้อย
- ระยะของพื้นที่โครงควรมีการเตรียมการแต่ต้นเพื่อเฉลี่ยระยะแปให้เท่ากันเพื่อความสวยงามเพื่อระยะติดรางน้ำฝน 17 cm. แล้ว
ข้อควรระวัง
- ผนังที่ดึงต้องไม่ใช่ผนัง Precast
- บริเวณที่ดึงต้องดึงจากเสา หรือ คาน เท่านั้น
- ระยะยื่นจากผนังต้องไม้เกิน 3 เมตร และสูงจากพื้นไม่เกิน 8 เมตร
- การติดตั้งกันสาดที่รองรับน้ำจากหลังคาหลัก ปริมาณน้ำที่ไหลมาจำนวนมาก อาจมีผลต่ออุปกรณ์ติดตั้ง แนะนำให้ติดรางน้ำฝนที่แผงหลังคาหลัก เพื่อลดปริมาณน้ำ
บทความที่เกี่ยวข้อง
วิธีการติดตั้ง หลังคาโปร่งแสง อะคริลิก Shinkolite
สนใจดูราคาติดตั้งหลังคาประเภทอื่น คลิ๊ก >> กลับสู่หน้าหลัก <<